Failure of Thermojet Dehydration

Failure of Thermojet Dehydration

ปัญหาของเครื่องกรอง Thermojet Dehydration แยกนำ้ออกจากเครื่องจักรได้ช้า

Thermojet ทำงานโดยอาศัยการ Atomization ของนำ้มันกับลมทำให้นำ้แตกตัวออก อาศัยพลังงานจากปั้มสองหัว Tandem Pump อัดที่ Oil Pressure ที่ 240 psi และ Heat อุณหภูมิที่ 72°C- 85°C Oil Pressure ที่ 240 psi ถูกอัดผ่าน Eductor ให้เหลือ 0 psi ทำให้นำ้มันแตกกระจายออก นำ้ก็จะแตกออกจาก นำ้มันในเวลาเดียวกัน ปั้มตัวที่สองก็จะอัดนำ้มันออกจาก Thermojet วิ่งผ่าน 3-6 micron Micro Glass Cartridge Filter ออกมา ในขณะเดียวกันนำ้ที่ถูกแยกออกจะถูกดักไว้อีกทาง ตกลงมาใน Water Collector

This image has an empty alt attribute; its file name is Thermojet-Micro-Glass-Filter-Photo.png

3-6 Micron Micro Glass Filter

This image has an empty alt attribute; its file name is Thermojet-photo-2-1.jpg

Thermojet Unit

ปัญหาของ Thermojet Dehydrator คือ

  1. Thermojet มีวงจรไฟฟ้าที่ถูกสร้างมาใช้สำหรับ โรงงาน Oil & Gas เท่านั้น ที่เป็น Explosion Proof Electrical Requirement NEMA 7 ที่มีไว้ใช้ในสถานที่ ที่อยู่ใกล้ไอของ Flammable gases ที่พร้อมติดไฟและจุดระเบิดได้ ในระดับที่เรียกว่า Class 1 Div 2 สังเกตุได้จากกล่องไฟฟ้า Electrical Control Enclosure ทำจาก Cast Aluminum หนา 1/2″ ใช้สำหรับ Explosion Proof จึงเป็นสาเหตุให้ราคา Thermojet Overprice เมื่อเทียบกับ เครื่อง Dehydrator ชนิดอื่น Thermojet ไม่ได้ถูกสร้างมาเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมอื่น นอก Oil & Gas เท่านั้น ใช้ที่อื่นผิดงานสำหรับ Thermojet
  2. Thermojet มีประสิทธิภาพในการแยกนำ้ตำ่ แยกนำ้ออกได้ช้ามาก เมื่อเทียบกับการแยกนำ้เทียบกับ Vacuum Distillation
  3. Thermojet ต้อง Heat นำ้มันที่อุณหภูมิสูงถึง 72°C- 85°C หรือเฉลี่ยที่ 80 °C เพื่อให้ปลดปล่อยพลังงานของการยึดหน่วงในโมเลกุล ระหว่างนำ้ กับนำ้มัน อุณหภูมิที่ 80 °C เป็นอุณภูมิที่สูงมาก มีผลทำให้นำ้มันเกิดปฎิกิริยา Oxidation เพิ่มขึ้นทันที นำ้มันก็จะมีความเป็นกรดเพิ่มขึ้นทันที ทำให้นำ้มันหล่อลื่นค่อยๆ เสือมสภาพเกิดความเสียหายขึ้นเรื่อยๆ
  4. Thermojet ใช้แรงอัดที่ 240 psi จาก Tandem gear pump อัดผ่าน Eductor ให้แรงดันนำ้มันลดลงมาเป็น ศูนย์ เป็นพลังงานเพื่อทำให้ Atomization เกิดการกระแทกอย่างแรงจากปั้ม ที่ทำให้นำ้แตกตัวแยกออกจากนำ้มัน ที่ 240 psi Oil Pressure สูงมาก จะทำให้ Tandem gear pump สึกหรอเร็วอายุสั้น มีการซ่อมบำรุงดูแลบ่อย ไม่เหมาะที่จะมาใช้แบบ 24/7 365 วันตลอดปี
  5. Thermojet ใช้ Y-Strainer ติดตั้งที่ทางเข้าของนำ้มันก่อนปั้ม Y-Strainer นี้มีขนาด 200 microns หรือ 150 Mesh size ซึ่งไม่เพียงพอที่จะป้องกันความเสียหายให้ปั้ม และ Y-Strainer นี้มีขนาดเนื้อที่ Surface Area น้อยมาก ไม่สามารถรองรับ High Dirt Holding Capacity ได้ทำให้ Y-Strainer ตันเร็วและต้องถอดออกมาล้างบ่อยๆ เสียเวลาดูแล High Maintenance Time
  6. 12KW Heater ใน Thermojet มีขนาด Watt Density (watts/ inch2) สูงเกินไปทำให้นำ้มันที่วิ่งผ่านเกิด coked up บนผิว Heater element คาร์บอนในนำ้มันแตกตัวออกมาจับบนผิว Heater ทำให้การส่งผ่านความร้อน Heat Dissipation ตำ่ ในที่สุดก็ทำให้เกิด Short Circuit ภายใน heater coil ต้องถอด Heater มาล้างบ่อยๆ ทุก 2-4 อาทิตย์ หรือเปลี่ยนบ่อย อายุสั้น เนื่องจากเนื้อที่ภายในมีจำกัด จึงทำให้ไม่สามารถเพิ่มจำนวน Watt Density ใน Heater ได้ ไม่งั้น จำนวน KW ของ Heater จะไม่พอมา Heat นำ้มันให้ได้อุณหภูมิที่ 80°C-85°C Watt Density สำหรับกับการ Heat นำ้มันจะขึ้นอยู่กับ Oil Viscosity โดยทั่วไปค่า Watt Density ตวรจะอยู่ระหว่าง 8-12 Watts per inch2 ปัญหาการอุดตันจะไม่เกิดขึ้นใน Heater
  7. ในระบบท่อภายใน Thermojet ขาดการป้องกันความสกปรกจากนำ้มัน ทำให้ท่อภายในอุดตันได้ง่าย โดยเฉพาะรูช่อง Nozzle สองตัว ที่มีขนาดเล็กเท่ารูเข็ม พนักงานต้องรื้อท่อออกมาล้างอยู่บ่อยๆ ไม่มีสัญญานเตือนของการอุดตันที่ทำให้ เครื่อง Thermojet วิ่งอยู่แต่นำ้ไม่ถูกแยกออก กว่าเจ้าหน้าที่จะรู้ ปั้มได้ความสึกหรอพร้อมที่จะพังแล้ว ดังนั้นถึงโรงงานจะมีตัวแยกนำ้เหล่านี้ไว้ใช้ก็ตาม เป็นเพียงแค่ทฤษฎีเท่านั้น ในทางปฎิบัติ นำ้ก็ยังมีค้างอยู่ในเครื่องจักรอยู่ตลอดเวลา
  8. Thermojet ใช้ Cartridge Paper Filter ที่ทำด้วยกระดาษเคลือบสารกระจกละเอียดที่เรียกว่า Micro Glass Fiber อัดลงบนผิวเพื่อทำให้เนื้อกระดาษทนต่อแรงดัน แรงกระแทกจากปั้มได้สูงขึ้น Micro Glass Filter ประเภทนี้มีปัญหาทาง Low Filtration Efficiency ตำ่ ไม่สามารถกรองนำ้มันให้ได้ Solid Particle NAS 6 หรือ ISO Code 13/10 ตามที่แจ้งไว้ใน Specs เนื้อที่ผิวบน Micro Glass มีเนื้อที่ Surface Area น้อยมาก Dirt Holding Capacity ตำ่มากทำให้ฟิลเตอร์อุดตันเร็ว
This image has an empty alt attribute; its file name is Thermojet-Dehydration-Dwg-1-1024x540.jpg

ข้อดี ข้อเสียระหว่าง Thermojet และ Vacuum Distillation มีดังนี้

  1. Thermojet สามารถแยกนำ้ออกจากนำ้มันเหนียวที่มี Viscosity ได้ที่ ISO Grade 220-320 แต่ต้อง Heat นำ้มันที่อุณหภูมิเกิน 80 °C ในขณะที่ Vacuum Distillation เหมาะที่จะใช้ได้ดีกับนำ้มันที่มี Viscosity ตำ่กว่า ISO 150 grade ดังนั้น Vacuum Distillation ไม่สามารถแยกนำ้จากนำ้มันที่มี Viscosity 220 ขึ้นไป ที่ ISO 220 นำ้ก็แทบจะไม่ออก หรือ Efficiency ลดลงกว่า 50%-75% ในเรื่องของนำ้มันเหนียว Vacuum Distillation สู้ Thermojet ไม่ได้
  2. เมื่อใช้ Vacuum Distillation แยกนำ้จากนำ้มัน Hydraulic ทั่วไปที่ Viscosity ตำ่กว่า ISO Grade 150 Vacuum Distillation จะมีประสิทธิภาพแยกนำ้ออกได้เร็วกว่าหลายช่วงของ Thermojet
  3. ทั้ง Thermojet และ Vacuum Distillation มีปัญหาเหมือนกันคือ มีการบำรุงรักษาบ่อยมาก ต้องดูแลอยู่ตลอดเวลา Thermojet มักจะซ่อมบ่อยกว่า เสียเวลามากแพงในเชิงแรงงานที่ใช้ล้างอุปกรณ์ ในขณะที่ Vacuum Distillation เสียเงินมากในการเปลี่ยน Vacuum Pump และ Condenser แต่ใช้เวลาน้อย ปัญหาการซ่อมบำรุงบ่อยๆ ทำให้การแยกนำ้ออกจากระบบควบคุมไม่ได้ เกิดความเสียหายกับเครื่องจักรตามมาอย่างต่อเนื่อง

OilPure VJ Vacuum Jet Dehydration ใช้วิธีการแยกนำ้ออกจากนำ้มันได้อย่างสมบูรณ์ โดยแยกได้ทั้ง Dissolved Water และ Free Water ไปพร้อมๆ กัน นำ้มันที่ออกจากเครื่อง VJ จะมีนำ้อยู่ในระดับ 50-100 ppm ในเวลาที่นำ้ในนำ้มันก่อนเข้าเครื่อง VJ มีถึง 30,000 ppm.

VJ Vacuum Jet Dehydration มีถังอยู่ภายใน Built-in Dehydrating Tank ที่ทำให้มีการแยกนำ้ออกแบบ Multiple Pass Dehydration และปริมาณนำ้จะถูกควบคุมด้วย MS1 Moisture Sensor จาก 30,000 ppm จนนำ้ลดลงถึง 50-100 ppm แล้วปั้มจึง discharge Dried Oil ออกจากเครื่อง VJ ดังนั้นนำ้ Free Water จากก้นถังจะไม่สามารถถูกนำไปรวมกับ Upper Oil ในถัง Oil Reservoir ได้ ในไม่ช้า นำ้ในเครื่องจักรก็จะค่อยลดน้อยจนหายไปหมดจากระบบการหล่อลื่น

Vacuum Jet Dehydration ยังสามารถอ่านและแสดงค่านำ้ในนำ้มันได้ทั้ง % aW (Saturated Point) และ ppm และสามารถส่งสัญญาณผ่าน Remote Monitoring ผ่านทาง App เข้าโทรศัพท์มือถือ ได้ทั้งระบบ IOS iPhone และ Android เครื่อง VJ ยังมีคุณสมบัติในการทำ Remote Control Operation สามารถควบคุมการทำงานของเครื่อง VJ เสมือนยืนอยู่หน้าเครื่องได้อีกด้วย คุณสมบัติเหล่านี้ไม่มีอยู่ในเครื่องกรองนำ้มันชนิดอื่นที่มีขายอยู่ในทั้งตลาดอเมริกา ยุโรบและเอเซีย

The above information is based on our experiences with users and their comments who wishes the manufacturer can improve their products. Please review with good discretion.

This image has an empty alt attribute; its file name is OPMS-Letter-Head-Address-Logo-2-1024x110.png

© Copyright, August, 2021 เอกสารและข้อมูลในเว็บไซต์นี้มีลิขสิทธ์ ห้ามนำไปเผยแพร่หรือสื่อสารโดยมิได้รับอนุญาตจาก OilPure